เดวิด เบเกอร์ (นักชีวเคมี)
เดวิด เบเกอร์ | |
---|---|
เบเกอร์ในรัฐวอชิงตันเมื่อปี 2013 | |
เกิด | ซีแอทเทิล รัฐวอชิงตัน สหรัฐ | 6 ตุลาคม ค.ศ. 1962
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | |
คู่สมรส | แฮนเนเล รูโอโฮลา-เบเกอร์ |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ชีววิทยาคำนวณ |
สถาบันที่ทำงาน | |
วิทยานิพนธ์ | Reconstitution of intercompartmental protein transport in yeast extracts (1989) |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | แรนดี เช็กแมน |
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆ | เดวิด แอเกิร์ด |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | ริเชิร์ด บอนเนา |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | ไบรอัส คูลแมน, ทันยา คอร์ทเทมเม |
เว็บไซต์ | www |
เดวิด เบเกอร์ (อังกฤษ: David Baker, เกิด 6 ตุลาคม 1962) เป็นนักชีวเคมีและนักชีววิทยาเชิงคำนวณชาวอเมริกัน ผู้ริเริ่มวิธีการการออกแบบโปรตีนและและการพยากรณ์โครงสร้างสามมิติของโปรตีน เขาเป็นศาสตราจารย์ประจำสถาบันแพทยศาสตร์ฮอเวิร์ด ฮิวจิส และศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์จีโนม, ชีววิศวกรรมศาสตร์, วิศวกรรมเคมี, วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาลัยวอชิงตัน ในปี 2024 เขาเป็นผู้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีจากส่วนร่วมในการศึกษาการออกแบบโครงสร้างโปรตีนเชิงคำนวณ[3][4]
โปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เบเกอร์และคณะร่วมกันพัฒนาสามารถแก้ปัญหาการพยากรณ์โครงสร้างโปรตีนได้อย่างมากในปัจจุบัน[5][6] เบเกอร์เป็นสมาชิกของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการออกแบบโปรตีนของมหาวิทยาลัยวอชิงตัน[7] เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพมากกว่าสิบแห่ง และในปี 2024 นิตยสาร ไทม์ ขึ้นชื่อเขาเป็นหนึ่งใน 100 บุคคลผู้ทรงอิทธิพลด้านสุชภาพ[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "David Baker". Arnold and Mabel Beckman Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 2, 2018. สืบค้นเมื่อ August 1, 2018.
- ↑ "Institute for Protein Design wins $45M in funding from TED's Audacious Project". April 17, 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 18, 2019. สืบค้นเมื่อ April 18, 2019.
- ↑ "The Nobel Prize in Chemistry 2024". Nobel Media AB. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 9, 2024. สืบค้นเมื่อ 9 October 2024.
- ↑ "Press release: The Nobel Prize in Chemistry 2024". NobelPrize.org (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 9, 2024. สืบค้นเมื่อ October 9, 2024.
- ↑ "Protein structures for all". Science (ภาษาอังกฤษ). American Association for the Advancement of Science. 16 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 16, 2022. สืบค้นเมื่อ 30 September 2024.
- ↑ "How AI Revolutionized Protein Science, but Didn't End It". Quanta Magazine (ภาษาอังกฤษ). Simons Foundation. 26 June 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 9, 2024. สืบค้นเมื่อ 30 September 2024.
- ↑ "UW to Establish Institute for Protein Design" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). University of Washington. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 15, 2019. สืบค้นเมื่อ January 14, 2019.
- ↑ Henshall, Will (2 May 2024). "David Baker". Time (ภาษาอังกฤษ). Time Magazine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 9, 2024. สืบค้นเมื่อ 30 September 2024.